สถาบันธรรมชัย DIRI

หลักฐานธรรมกายชิ้นที่ 14 คัมภีร์สัทธรรมลังกาวตารสูตร

คัมภีร์สัทธรรมลังกาวตารสูตร เนื้อหาคัมภีร์ ก่อน พ.ศ. 963 ศึกษาจากคัมภีร์ พ.ศ. 2524 ประเภทหลักฐาน : คัมภีร์ สถานที่พบ : คัมภีร์สันสกฤต คัมภีร์ทิเบต คัมภีร์จีน อักษรที่เขียน : เทวนาครี ภาษาที่เขียน : สันสกฤต เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง तत्र कतमा कायसमता यदुत अहं च ते च तथागता अर्हन्तः सम्यक्सम्बुद्धा धर्मकायेन च रूपलक्षणानुव्यञ्जनकायेन च समा निर्विशिष्टा अन्यत्र वैनेयवशमुपादाय । แปลว่า อะไรคือความเหมือนกันแห่งกาย กล่าวคือ ตัวเรา ตถาคตอื่น อรหันต์ และสัมมาสัมพุทธ ทั้งหลาย และนั่นก็คือ ธรรมกายอันประกอบด้วยรูปลักษณะ กับทั้งอนุพยัญชนะ นั่นเอง …

หลักฐานธรรมกายชิ้นที่ 14 คัมภีร์สัทธรรมลังกาวตารสูตร Read More »

หลักฐานธรรมกายชิ้นที่ 15 คัมภีร์โฝวซัวกวนจิง

คัมภีร์โฝวซัวกวนจิง 佛說觀經 FO SHUO GUAN JING Dunhuang manuscript S.2585 เนื้อหาคัมภีร์ พุทธศตวรรษที่ 10 (พศ.901-1000) ศึกษาจากคัมภีร์ พุทธศตวรรษที่ 15 (พ.ศ.1401-1500) ประเภทหลักฐาน : ม้วนคัมภีร์ สถานที่พบ : ค้นพบที่ถ้ำโม่วกาว เมืองตุนหวง ปัจจุบันเก็บรักษาที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษ กรุงลอนดอน อักษรที่เขียน : จีนโบราณ ภาษาที่เขียน : จีนโบราณ เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง บันทึกวิธีทำสมาธิแบบต่างๆ รวมถึงพุทธานุสติ แบบโบราณ ที่สอนให้ผู้ปฏิบัติรวมใจไว้กลางนาภี เมื่อจิตรวมและหยุดนิ่งปราศจากนิวรณ์ จะเกิดประสบการณ์ภายใน เห็นดวงนิมิตและองค์พระพุทธเจ้า ผุดช้อนขึ้นมาจากภายในกลางกาย (นาภี) รวบรวมโดย พระเกียรติศักดิ์ กิตติปัญโญ กลับสู่ก่อนหน้า

หลักฐานธรรมกายชิ้นที่ 16 คัมภีร์สอนการปฏิบัติสมาธิภาวนาแบบโยคาจาร

คัมภีร์สอนการปฏิบัติสมาธิภาวนาแบบโยคาจาร พ.ศ. 1051-1250 ชิ้นส่วนคัมภีร์ ทำจากกระดาษ, ทำจากเปลือกไม้เบิร์ช สถานที่พบ : คิซิล (Kizil) ซึ่งตั้งอยู่บริเวณที่ราบลุ่มทาริม (Tarim Basin) ในซินเจียงของจีน (เอเชียกลาง) อักษรที่เขียน : อักษรคุปตะ ภาษาที่เขียน : ภาษาสันสกฤต เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง เมื่อความหยุดนิ่งอันสำเร็จด้วยรัตนะปรากฏขึ้น และในที่สุดเมื่อสิ่งอันพึงรู้ทั้งมวลมารวมหยุดอยู่ที่สะดือ นั่นแหละคือการตื่นรู้ วิจัยโดย ดร.ชนิดา จันทราศรีไศล กลับสู่ก่อนหน้า

หลักฐานธรรมกายชิ้นที่ 1 คัมภีร์อโศกาวทาน

หลักฐานธรรมกายชิ้นที่ 1 คัมภีร์อโศกาวทาน เนื้อหาคัมภีร์ กลางพุทธศตวรรษที่ 6-7 ศึกษาจากคัมภีร์ พ.ศ.2506 พบใน คัมภีร์สันสกฤต คัมภีร์ทิเบต คัมภีร์จีน อักษรที่เขียน อักษรเทวนาครี ภาษาที่เขียน ภาษาสันสกฤต धरर्मकायो मया तस्य दृष्टस्त्रैलोक्यनाथस्य । काझ्यनाद्रनिभिस्तस्य न दृष्टो रूपकायो में ।। तदनुपममनग्रह प्रत त्यमहि ददिर्शय बुद्धवगिरह । प्रयिनधकिमती हा नास्ता में दराबलरूपकृतहलो यह ।। แปลว่า พระอุปคุปต์ได้กล่าวแก่มาร ว่า ข้าพเจ้าได้เห็นแต่ธรรมกายแต่ไม่เห็นรูปกาย ขอท่านจงบันดาลให้ข้าพเจ้าได้เห็นรูปกาย ของพระทศพลด้วย รวบรวมโดย พระวีรชัย เตชงฺกุโร ดร. กลับสู่ก่อนหน้า

หลักฐานธรรมกายชิ้นที่ 17 คัมภีร์สอนการทำสมาธิภาวนาสำหรับพระโพธิสัตว์

คัมภีร์สอนการทำสมาธิภาวนาสำหรับพระโพธิสัตว์ เป็นชิ้นส่วนคัมภีร์ที่ไม่สามารถระบุวัสดุได้ สถานที่พบ : ซินเจียง (เอเชียกลาง) ทางตะวันตกของประเทศจีน ที่เก็บรักษาปัจจุบัน : Hoernle Collection (เลขที่ 144, SA.5) ใน British Library ประเทศอังกฤษ อักษรที่เขียน : อักษรคุปตะตัวตรง ภาษาที่เขียน : ภาษาสันสกฤต เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง การสอนสมาธิสำหรับพระโพธิสัตว์ ๓ ระดับ โดยให้มีใจอยู่กับพระพุทธเจ้า ตามเห็นพระพุทธเจ้าตลอดเวลา ซึ่งจะมีอานิสงส์อันน่าอัศจรรย์มากมาย ทั้งจะนำมาซึ่งคุณสมบัติและคุณวิเศษนานานัปการ และนำไปสู่ความหลุดพ้น วิจัยโดย ดร.ชนิดา จันทราศรีไศล กลับสู่ก่อนหน้า

หลักฐานธรรมกายชิ้นที่ 2 คัมภีร์อัสฏสาหัสริกา ปรัชญาปารมิตา

หลักฐานธรรมกายชิ้นที่ 2 คัมภีร์อัสฏสาหัสริกา ปรัชญาปารมิตา เนื้อหาคัมภีร์ พ.ศ.443-643 ศึกษาจากคัมภีร์ พ.ศ.2503 พบใน : คัมภีร์สันสกฤต คัมภีร์ทิเบต คัมภีร์จีน อักษรที่เขียน : อักษรเทวนาครี, ภาษาที่เขียน : ภาษาสันสกฤต เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง 1 उक्तं ह्येतद्भगवता – धर्मकाया बुद्धा भगवन्तः । 2 धर्मकायपरिनिष्पत्तितो मां भिक्षवो द्रक्षयथ । แปลว่า 1 พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ธรรมกายคือพุทธะ คือภควันต์ 2 เธอพึงเห็นเราจากการเข้าถึงธรรมกาย รวบรวมโดย พระวีรชัย เตชงฺกุโร ดร. กลับสู่ก่อนหน้า

หลักฐานธรรมกายชิ้นที่ 3 ปรัตยุตปันนสมาธิสูตร

หลักฐานธรรมกายชิ้นที่ 3 – ปรัตยุตปันนสมาธิสูตร เนื้อหาคัมภีร์ ก่อน พ.ศ.500 ศึกษาจากคัมภีร์ พ.ศ.1044-1343 ประเภทหลักฐาน : ชิ้นส่วนคัมภีร์ สถานที่พบ : คาห์ดาลิค บริเวณโดโมโกโอเอซิส (Domoko Oasis) เอเชียกลาง เส้นทางสายไหม ที่เก็บรักษาปัจจุบัน : Hoernle Collection (No. 143, SA.3), British Library ประเทศอังกฤษ อักษรที่เขียน : คุปตะตัวตรง ภาษาที่เขียน : สันสกฤตแบบผสม เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง กล่าวถึงการทำสมาธิพุทธานุสติ ที่เมื่อปฏิบัติด้วยดีแล้วจะเป็นเหตุให้ได้รับการปกปักรักษา จากมนุษย์และอมนุษย์ ดึงดูดแต่สิ่งที่ดีงามเข้ามาหา ขับไล่สิ่งที่ไม่ดีงามทั้งหลาย และทำให้ ผู้ปฏิบัติมีญาณทัสนะที่กว้างไกล รู้แจ้งสัจธรรมที่เหนือคำบรรยาย และเข้าถึงธรรมชาติ อันสูงสุดของสรรพสิ่ง ที่เรียกว่า ตกตฺวา หรือ ตถตา ซึ่งหมายถึงธรรมกาย รวบรวมโดย ดร.ชนิดา จันทราศรีไศล …

หลักฐานธรรมกายชิ้นที่ 3 ปรัตยุตปันนสมาธิสูตร Read More »

หลักฐานธรรมกายชิ้นที่ 4 ธรรมกายในพระไตรปิฎกบาลี

หลักฐานธรรมกายชิ้นที่ 4 ธรรมกายในพระไตรปิฎกบาลี เนื้อหาคัมภีร์ ก่อน พ.ศ. 500 ศึกษาจากคัมภีร์ พ.ศ.2470 ประเภทหลักฐาน : ฉบับตีพิมพ์ ภาษาที่เขียน : บาลี – อัคคัญญสูตร เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง : ธรรมกายเป็นพระนามของพระตถาคต – ปัจเจกพุทราปทาน เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง : พระปัจเจกพุทธเจ้าทรงมีธรรมกายมาก – มหาปชาบดีโคตมีเถรีอปทาน เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง : พระอริยสาวกมีธรรมกาย ธรรมกายเติบโตได้, พระพุทธองค์เป็น ผู้ให้กำเนิดและบำรุงเลี้ยงธรรมกายของอริยสาวกให้เติบโต – อัตตสันทัสสกเถราปทาน เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง : พระตถาคตคือธรรมกาย วิจัยโดย ดร ชนิดา จันทราศรีไกล บ.ศ.9 ศึกษาเพิ่มเติมจาก 1. www.dhammakaya.net 2. kalyanamitra.org กลับสู่ก่อนหน้า